วันที่ 16 พฤศจิกายน 2558 ครูกศน.ตำบลเวียงเหนือ ส่งใบลงทะเบียนเรียนนักศึกษากศน.ตำบลเวียงเหนือที่ค้างลงทะเบียนภาคเรียนที่ 2 / 2558 ให้ฝายทะเบียน
-เช็ดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตนักศึกษา กศน.ตำบลเวียงเหนือ
- ประชุม กศน.อำเภอเมืองลำปาง
- เรื่องจำนวนนักศึกษ.นศ.ในแต่ละกลุ่ม ปรับเปลี่ยนจากประถม 35 ม.ต้น-ปลาย 40 เป็นกลุ่มละไม่เกิน 40 คนเท่ากัน ทุกระดับ ครู กศน.ต าบล ที่ท าหน้าที่หัวหน้า กศน.ต าบล รวมทั้งครู ศรช.ที่ท าหน้าที่หัวหน้า กศน.ต าบล ให้สอน กศ.ขั้นพื้นฐานกลุ่มเดียว แต่ให้ประสานงาน กศ.ต่อเนื่องและ กศ.ตามอัธยาศัย ให้รวมกลุ่มเป้าหมาย ได้ 100 คน ส่วนครู ศรช.ที่สอน กศ.ขั้นพื้นฐานอย่างเดียวให้สอนได้ถึง 3-4 กลุ่ม
- ครูอาสาสมัคร เน้นผู้ไม่รู้หนังสือ ไม่น้อยกว่า 35 คน รวมปีละไม่น้อยกว่า 70 คน (70 คนนี้ไม่ซ้ ากัน เพราะหลักสูตรผู้ไม่รู้หนังสือเป็นหลักสูตร 200 ชม.จบ แต่ถ้ามีผู้ไม่รู้หนังสือไม่ครบ 35 คน ให้สอนระดับประถม ม.ต้น-ปลาย ด้วย ให้รวมเป็นภาคเรียนละ 60 คน แต่ 60 คนในแต่ละภาคอาจเป็นคนซ้ ากันเพราะระดับประถม ม.ต้น ม.ปลาย เป็นหลักสูตร 2 ปี ไม่จบในภาคเรียนเดียว)
- ครูประจ ากลุ่มอื่นๆ (ทหาร/เรือนจ า-สถานพินิจ/อสม.) รับผิดชอบ 1 กลุ่ม ไม่เกิน 40 คน เบิกจ่าย ค่าใช้จ่ายเป็นรายหัว
- โครงการส่งเสริมการรู้หนังสือส าหรับคนไทย ( อายุ 15-59 ปี ) ใช้หลักสูตรการรู้หนังสือไทย พุทธศักราช 2547 เป็นหลักสูตรแกนกลาง ซึ่งเป็นหลักสูตร 200 ชั่วโมง มี 12 สภาพ มีคำให้เรียน 988 คำ และสถานศึกษาสามารถพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาส าหรับผู้ไม่รู้หนังสือ มาใช้ควบคู่กับหลักสูตร แกนกลางควรใช้ข้อมูลผู้ไม่รู้หนังสือจาก จปฐ.วิธีการเรียนรู้ ให้ใช้วิธีแจกลูกสะกดคำรู้หนังสือ 800 ค า ผ่านการวัดการประเมิน ให้วุฒิบัตรลงนามโดย ผอ.กศน.อ าเภอ
- กศ.ต่อเนื่อง 4 ประเภท (พัฒนาอาชีพ, พัฒนาทักษะชีวิต, พัฒนาสังคมและชุมชน, เทคโนโลยีที่เหมาะสม) จัดได้ 3 วิธี - กลุ่มสนใจ (ไม่เกิน 30 ชั่วโมง ไม่มีค่าวัสดุ) - หลักสูตรระยะสั้น (มากกว่า 30 ชั่วโมง) - ฝึกอบรม (ก าลังขอท าความตกลงกับกรมบัญชีกลาง) โดย ประเภทพัฒนาอาชีพ ให้จัดได้ 2 วิธีคือ กลุ่มสนใจ กับหลักสูตรระยะสั้น ส่วนอีก 3 ประเภท จัดได้ 3 วิธี ใบส าคัญวิชาชีพ ออกแบบ/ท าเองได้ ควรให้ ผู้ประกอบการ/แหล่งเรียนรู้ ร่วมลงนามในใบส าคัญด้วย
-บ้านหนังสือชุมชน ให้แต่ละตำบลก ำหนดเป้าเอง โดยเลือกบ้านหนังสือที่่ ยังมีการด ำเนินการต่อเนื่อง - มีพื้นที่ชัดเจน - มีรูปแบบชัดเจนเป็นสัดส่วน (รีบแจ้งเพิ่มจากที่เคยส ารวจส่งแล้วได้)
-โครงการบรรณสัญจร กำหนดเป้าเป็นจ ำนวนหนังสือ (เล่ม) ที่จะรับบริจาค เป้าทั้งประเทศ 10 ล้านเล่ม (องค์การค้าฯ จะบริจาคหนังสือให้ กศน. 1 ล้านเล่ม)
- โครงการศูนย์ข้อมูล ฐานข้อมูล กศน.ต าบล ต้องท าทุกต าบล งบประมาณต าบลละ 3,000 บาท
-โครงการกีฬา ให้จัดแข่งขันระดับต าบล/อ าเภอ/จังหวัด/ภาค
- โครงการจัดสอนภาษาอังกฤษ ให้รับสมัครผู้เรียน และรับสมัครอาสาสมัครผู้สอน เป็นสาขา ๆ เช่น มัคคุเทศก์, รถรับจ้าง, ร้านนวดแผนไทย จัดในพื้นที่
- โครงการส่งเสริมกิจกรรมลูกเสือ/ยุวกาชาด ทุกอ าเภอต้องตั้งกองลูกเสืออย่างน้อย 1 กอง (อย่างน้อย 4 หมู่ ๆ ละ 8 คน) และ/หรือ ชมรมยุวกาชาด 40 คน แล้วอบรมในเรื่อง
- การปฐมพยาบาล (ประสานโรงพยาบาล)
- การดูแลผู้สูงอายุ
- การป้อกันภัยพิบัติ
- องค์ความรู้ตามรอยพระยุคลบาท
- การอบรมลูกเสือ ต้องท าตามหลักสูตรลูกเสือ
- โครงการสอนท าบัญชีครัวเรือน (ทุกต าบลต้องท ำ)
- นศ.กศน.ทุกคน ต้องท าบัญชีครัวเรือน
- ครู กศน.ทุกคน ต้องท าบัญชีครัวเรือน
- ประชาชนทั่วไป ทุกหมู่บ้าน ๆ ละ ..... คน (ให้ก าหนด) ทำบัญชีแล้วต้องวิเคราะห์ว่ารายรับรายจ่าย เหมาะสมหรือไม่อย่างไร และต่อเนื่องด้วยโครงการเศรษฐกิจพอเพียงส าหรับผู้ที่ผ่านการอบรมการท าบัญชี ครัวเรือน แล้ว (ให้สอดแทรกเรื่องการท าบัญชีครัวเรือน ในการจัดการศึกษาต่อเนื่อง วิชาชีพต่าง ๆ ด้วย)
- โครงการจัดตั้งหมู่บ้านเรียนรู้ตามรอยเบื้องพระยุคลบาท ท าทุกต าบล ๆ ละ 1 หมู่บ้าน ( หมู่บ้านที่ใน หลวงทรงงาน หรือหมู่บ้านใกล้เคียง) หมู่บ้านละ 2 คนงบประมาณคนละ 400 บาท (หมู่บ้านละ 800 บาท)ให้ 2 คนนี้เรียนรู้กิจกรรมที่ทรงงานในพื้นที่ หรือพื้นที่ใกล้เคียง ว่าทรงงานเรื่องอะไรท าอย่างไร (เช่นเรื่องการแกล้งดินเพื่อ แก้ปัญหาดินเปรี้ยว) จนอธิบายได้ กลั่นกรองเป็นองค์ความรู้ ตรวจสอบกับ กอ.รมน.จังหวัด ขึ้นเว็บไซต์ แล้วเป็นแกนน า เผยแพร่แก่คนทั้งหมู่บ้านด้วยวิธีการต่าง ๆ (2 คนนี้อาจเป็นลูกเสือ/ยุวกาชาด กศน.)
-เชิญชวนร่วมกิจกรรม Bike for dad โดย ร่วม+สนับสนุน
- ช่วยประชาสัมพันธ์
- นำขบวนจักรยานไปร่วม (มีสัญลักษณ์ กศน.ด้วย)
- ช่วยจังหวัด เช่นร่วมบริการน้ าดื่ม จราจร ฯลฯ อาจใช้ลูกเสือ กศน.ช่วย 19) โครงการจัดตั้งศูนย์ส่งเสริมประชาธิปไตยและการเลือกตั้งประจ าตำบล ให้ครบทุกตำบล มีภารกิจ เร่งด่วน คือทำประชามติรัฐธรรมนูญ โดย กศน.ตำบลเป็นศูนย์ประสานงาน มีงบประมาณพอสมควร
-โครงการจัดหลักสูตรการดูแลผู้สูงอายุกระทรวงศึกษาธิการ
- หลักสูตรระยะสั้นการดูแลผู้สูงอายุ 420 ชม. จังหวัดละ 1 อำเภอๆ ละ 1 ห้อง ๆ ละ 20 คน จบแล้วสอบเพื่อขึ้นทะเบียนผู้ประกอบอาชีพการดูแลผู้สูงอายุได้ นโยบาย กศน. ปี ๒๕๕๙ หน้า 4
- หลักสูตรระยะสั้นการดูแลผู้สูงอายุ 70 ชม. จังหวัดละ 1 อำเภอ ๆ ละ 1 ห้อง ๆ ละ 20 คน โครงการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตส าหรับผู้สูงอายุ ทุกอำเภอ ๆ ละ 5 ตำบล ๆ ละ 20 คน ให้ทุกอำเภอตั้งชมรมผู้สูงอายุ ในระดับต าบล/อำเภอ
การประชุมรับนโยบายสำนักงานกศน. |
เร่งจัดทำแผนปฏิบัติการ กศน.ตำบลและขออนุญาตจัดตั้งกลุ่ม ภาคเรียนที่ 2/58 เลยนะคะ
ตอบลบครับ ขอบคุณครับ
ตอบลบ