รายงานวิชาชีพหลักสูตรระยะสั้นอาชีพเพื่อการมีงานทำ
การทำหมอนสมุนไพร
จำนวน 50
ชั่วโมง
ระหว่างวันที่ ๕,๑๒,๑๙,๒๖ มิถุนายน ๒๕๕๘ เวลา ๑๖.๐๐ – ๑๙.๐๐ น.
วันเสาร์–อาทิตย์ ๖,๗,๑๔,๒๐,๒๗,๒๘ มิถุนายน ๒๕๕๘ เวลา ๑๖.๐๐-๑๙.๐๐น
ณ ศูนย์สาธิตการตลาดเทศบาลนครลำปาง
ต.เวียงเหนือ อ.เมือง จ.ลำปาง
จัดทำโดย…..นายปภพสรรค์ ราชเครือ
ครู กศน.ตำบลเวียงเหนือ อำเภอเมืองลำปาง
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองลำปาง
คำนำ
ตามที่ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองลำปาง
ได้มอบหมายให้ กศน.ตำบลเวียงเหนือ จัดกิจกรรมอบรมวิชาชีพหลักสูตรระยะสั้น โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน
(จัดสรรตามจำนวน กศน.ตำบล) งบประมาณ 2558 : หลักสูตรการทำหมอนสมุนไพร ให้แก่กลุ่มผู้ที่ว่างในพื้นที่
ซึ่งเป็นวิธีหนึ่งในการส่งเสริมการเรียนเรียนรู้อาชีพเพื่อการมีงานทำให้กับผู้ที่ว่างในด้านต่างๆ
เป็นการการจัดการเรียนรู้ที่ต่อเนื่องและมีการจัดกิจกรรมที่หลากหลายตามความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย
กศน.ตำบลเวียงเหนือ ได้จัดกิจกรรมอบรมวิชาชีพหลักสูตรระยะสั้นโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน
(จัดสรรตามจำนวน กศน.ตำบล) งบประมาณ 2558 วิชาการการทำหมอนสมุนไพร จำนวน 50 ชั่วโมง ให้แก่กลุ่มประชนทั่วไประหว่างวันที่ 5– 28 มิถุนายน 2558 ตั้งแต่เวลา 09.00 – 15.0 น. ณ ศูนย์สาธิตการตลาดเทศบาลนครลำปางเพื่อส่งเสริมอาชีพให้กับประชนทั่วไป
จำนวน 23 คน
บัดนี้การเรียนการสอนดังกล่าวได้เสร็จสิ้นเรียบร้อยแล้ว
จึงขอสรุปผลการเรียนการสอนวิชาชีพดังกล่าว
(นายปภพสรรค์ ราชเครือ)
ครู กศน.ตำบลเวียงเหนือ
รายงานการจัดกิจกรรม วิชาชีพหลักสูตรระยะสั้น การทำจักสานตะกร้าจากปอฟาง จำนวน 50 ชั่วโมง
ระหว่างวันที่
5
– 28 มิถุนายน
2558 เวลา 09.00 – 15.00 น. ณ ศูนย์สาธิตการตลาดเทศบาลนครลำปาง ตำบลสวนดอก อำเภอเมืองลำปาง จังหวัดลำปาง
ตอนที่ 1 ความสำคัญและความเป็นมา
ตามที่สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
ได้กำหนดนโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ 2558 โดยนโยบายการศึกษานอกระบบ
งานการศึกษาต่อเนื่อง ในการมุ่งจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชนตามแนวคิดการจัดการศึกษาเพื่อเตรียมความพร้อมก้าวสู่เข้าประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
โดยใช้หลักสูตรและการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการในรูปแบบของการฝึกอบรม การประชุมสัมมนา การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การสร้างชุมชนนักปฏิบัติ การเรียนทางไกล และรูปแบบอื่นๆที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย และบริบทของชุมชนแต่ละพื้นที่โดยเน้นการส่งเสริมสร้างความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
และหลักสูตรเชิงบูรณาการเพื่อการพัฒนาสังคมและชุนชน
ดังนั้น
เพื่อสนองนโยบายของภาครัฐและสถานศึกษาให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด
ประจำปี
2558
ตามเป้าประสงค์ชุมชนมีการจัดการความรู้และกระบวนการเรียนรู้เพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
และภาคีเครือข่ายเข้ามาร่วมดำเนินการจัดการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองลำปาง โดย กศน.ตำบลเวียงเหนือ
ได้ทำการประชาคมรับทราบสภาพปัญหาความต้องการของชุมชนที่มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วทั้งทางด้านกายภาพ ชีวภาพ
สังคม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทต่อดำรงชีวิตของคนในชุมชนตลอดจนตำบลเวียงเหนือเป็นตำบลที่มีแหล่งท่องเที่ยวด้านโบราณสถาน
โบราณวัตถุเป็นจำนวนมาก
และมีนักท่องเที่ยวเข้ามาเที่ยวชมสถานที่ดังกล่าวตลอดทั้งปี
มีจุดเด่นที่จัดเป็นพื้นที่สำคัญทางพระพุทธศาสนาเห็นได้จากวัดวาอารามต่างๆมีประวัติความเป็นมาอย่างนาน
กศน.ตำบลเวียงเหนือ
จากประชาคมกลุ่มเป้าหมายมีความต้องการเรียนการสานตะกร้าจากปอฟาง
เนื่องจากมีความต้องการของลูกค้าและนักท่องเที่ยวที่เข้าเที่ยวในชุมชนเป็นการพัฒนาให้เป็นอาชีพสร้างรายได้แก่ตนเองและครอบครัว
และตลอดสร้างรายได้สร้างเศรษฐกิจที่ดี
4. วัตถุประสงค์
1.
เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีทักษะจากการจัดกิจกรรมและนำไปใช้ในการพัฒนาอาชีพให้แก่ตนเอง
2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีรายได้และมีงานทำ
ผู้เข้าอบรมทั้งหมด 23 คน ผู้จบหลักสูตร 23 คน คิดเป็นร้อยละ
100.00
วิธีการดำเนินการ
1. ครูผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่จัดเทวีประชาคมในชุมชน
2. จัดทำแผนการปฏิบัติการ งานการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ
3.
เสนอโครงการจัดกิจกรรมการศึกษาอาชีพเพื่อพัฒนาอาชีพ
4. จัดทำหลักสูตร การเพาะเห็ดนางฟ้า
5.
จัดทำแผนงาน/ โครงการจัดการศึกษาด้านการศึกษาอาชีพเพื่อพัฒนาอาชีพเสนอต่อผู้บริหารสถานศึกษา
6. ดำเนินการจัดกิจกรรมอาชีพตามแผนงาน/โครงการ
7. นิเทศ/ติดตาม/ประเมินผลการจัดกิจกรรม
8. สรุปและรายงานผลโครงการ
ฯ
ตอนที่
2
ผลการดำเนินงาน
วิชาชีพหลักสูตรระยะสั้นการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ การทำหมอนสมุนไพร จำนวน
50
ชั่วโมง ในระหว่างวันที่ 5 – 28 มิถุนายน 2558 ตั้งแต่เวลา 09.00 – 15.00 น. ณ ศูนย์สาธิตการตลาดเทศบาลนครลำปาง ตำบลสวนดอก โดยมี
นางสาวมลธิชา สุตาโย เป็นวิทยากรผู้สอนผู้เข้าอบรมทั้งหมด 23 คน มีผู้จบหลักสูตร 23 คน ซึ่งมีกระบวนการจัดกิจกรรม ดังนี้
1.การสอนเนื้อหาภาคทฤษฎีความรู้ด้านช่องทางการประกอบอาชีพวิทยากรอธิบายเกี่ยวกับความสำคัญในการประกอบอาชีพการทำหมอนสมุนไพร
วิเคราะห์ความเป็นไปได้ในการประกอบอาชีพการการทำหมอนสมุนไพร และสำรวจทรัพยากรในการการทำหมอนสมุนไพร
ที่มีในชุมชน ตลอดจนบอกทิศทางการประกอบอาชีพ
2.การสอนเนื้อหาภาคทฤษฎีและภาคปฎิบัติความรู้ด้านทักษะการประกอบอาชีพโดยวิทยากรอธิบายเกี่ยวกับการทำหมอนสมุนไพรรูปแบบต่าง ๆ จัดเตรียมวัสดุ
– อุปกรณ์ ขั้นตอนและสามารถการทำจักสานตะกร้าจากปอฟางให้คำแนะนำ และใช้การทำหมอนสมุนไพร
3.การบริหารจัดการในการประกอบอาชีพ ผู้เข้ารับการอบรมศึกษาวางแผนและออกแบบการทำหมอนสมุนไพร
วางแผนการตลาด และประชาสัมพันธ์ วิเคราะห์ตามต้องการในการใช้หมอนสมุนไพรและการแข่งขันในตลาดหมอนสมุนไพรและบันทึกข้อมูล
ต้นทุน – กำไร
ตลอดจนประกอบอาชีพการทำหมอนสมุนไพรด้วยความซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อชุมชน และสังคม
4.การจัดทำโครงการประกอบอาชีพผู้เข้ารับการอบรมศึกษาความสำคัญของโครงการอาชีพ ประโยชน์ของโครงการอาชีพ องค์ประกอบของโครงการอาชีพ ความหมายขององค์ประกอบของโครงการอาชีพลักษณะการเขียนโครงการที่ดีตามองค์ประกอบของโครงการอาชีพ และการเขียนโครงการในแต่ละองค์ประกอบได้เหมาะสมและถูกต้อง ตลอดจนประเมินความเหมาะสมและสอดคล้องของโครงการอาชีพ
วิทยากรได้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามขั้นตอน
ดังต่อไปนี้
1.วิทยากรได้อธิบายเกี่ยวกับความสำคัญในการประกอบอาชีพการการการทำหมอนสมุนไพร
วิเคราะห์ความเป็นไปได้ในการประกอบอาชีพการทำหมอนสมุนไพร และสำรวจทรัพยากรในการทำหมอนสมุนไพร ที่มีในชุมชน ตลอดจนทิศทางการประกอบอาชีพ
2.
วิทยากรได้อธิบายทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติโดยมีการอธิบายพร้อมสาธิต วิธีการ/
ขั้นตอน ได้เรียนรู้ร่วมกันให้ผู้เรียนดู การจัดเตรียมวัสดุ
– อุปกรณ์ และรูปแบบต่างๆการตะกร้าจากปอฟาง
3.
ผู้เข้าอบรมได้ศึกษาและฝึกปฏิบัติ เกี่ยวกับจัดเตรียมวัสดุ
– อุปกรณ์
วางแผนและออกแบบหมอนสมุนไพร การบันทึกข้อมูล ต้นทุน-กำไร วิเคราะห์ตามต้องการในการใช้ และการแข่งขันในตลาดหมอนสมุนไพร
4.ผู้เข้าอบรมได้ศึกษาและฝึกปฏิบัติ
เกี่ยวกับความสำคัญของโครงการอาชีพ ประโยชน์ของโครงการอาชีพ และองค์ประกอบของโครงการอาชีพ ตลอดจนการเขียนโครงการที่ดีตามองค์ประกอบของโครงการอาชีพ
5.
วิทยากรช่วยเติมเต็มความรู้
ทบทวน จัดเตรียมวัสดุ – อุปกรณ์ การทำบัญชีรายรับ –รายจ่าย และการบันทึกข้อมูล
ต้นทุน-กำไร เพื่อให้ผู้เรียนสามารถฝึกได้ถูกวิธีมีความเข้าใจมากขึ้น
6.
วิทยากรประเมินผลจากการปฏิบัติของผู้เรียน
สื่อการเรียนการสอน
ประกอบด้วย
1.
ผ้าทำหมอน
2. ใยโพลี
3. ซิป
4. เข็ม
5. สมุนไพร
6. กรรไกร
7. ซ็อกขีดผ้า
8.
เข็มเย็บผ้า
การวัดผลประเมินผล
มีการวัดผลและประเมิน โดยการสังเกตการณ์การมีส่วนร่วมในกิจกรรมของผู้เข้ารับการอบรม
ได้แก่ การซักถาม การตอบคำถาม การแสดงความคิดเห็น โดยใช้เครื่องมือในการวัด คือ ตรวจสอบผลการฝึกปฏิบัติของผู้เข้ารับการอบรม
และบัญชีลงเวลาผู้เข้าร่วมอบรม
ตอนที่
3
ข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม
จำนวนผู้ตอบแบบสอบถาม.......23........คน
ที่
|
รายการ
|
จำนวน (คน)
|
ร้อยละ
|
หมายเหตุ
|
1
|
อายุ - 15 – 39 ปี
|
3
|
13.0
|
|
- 40 - 49 ปี
|
2
|
8.69
|
||
50 ปีขึ้นไป
|
18
|
78.25
|
||
2.
|
เพศ - หญิง
|
21
|
91.3
|
|
- ชาย
|
2
|
8.69
|
||
3.
|
ระดับการศึกษา
|
|
|
|
-
ประถม
|
3
|
13
|
||
-
มัธยมศึกษาตอนต้น
|
5
|
21.73
|
||
-
มัธยมศึกษาตอนปลาย
|
15
|
65.21
|
||
-
ปริญญาตรีหรือสูงกว่า
|
-
|
-
|
||
4.
|
อาชีพ
|
|
|
|
-
เกษตรกร
|
|
|
||
-
รับจ้าง
|
4
|
17.39
|
||
-
ค้าขาย
|
3
|
13
|
||
-
อื่น ๆ ระบุ…แม่บ้าน......
|
16
|
69.56
|
||
5.
|
รายได้ต่อเดือน
|
|
|
|
-ต่ำกว่า 5,000
บาท
|
12
|
52.17
|
||
-5,000
- 10,000 บาท
|
10
|
43.47
|
||
-มากกว่า 10,000 บาท
|
1
|
4.34
|
จากผลการสรุปข้อมูลพื้นฐานของผู้สอบถาม
จำนวน 23
คน ของผู้เข้าร่วมอบรมวิชาชีพระยะสั้นเพื่อการมีงานทำ การทำหมอนสมุนไพร จำนวน
50
ชั่วโมง พบว่า
1. ช่วงอายุ 50- ปีขึ้นไป จำนวนมากที่สุด 18
คน คิดเป็นร้อยละ 78.25
ของผู้เข้าร่วมอบรมทั้งหมด รองลงมาช่วงอายุ 15–39 ปี จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 13.9 และอายุ 40-49 ปี จำนวน 2 คิดเป็นร้อยละ 8.69
จะพบว่า อายุ 50- ปีขึ้นไป อยู่ในกลุ่มที่ให้ความสนใจมากที่สุด
2. เพศ ของผู้เข้าร่วมอบรม
เป็นเพศหญิง จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 91.3 มากที่สุด รองลงมาเพศชาย
จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อย 8.69 พบว่า เพศหญิง
อยู่ในกลุ่มที่ให้ความสนใจมากที่สุด
3.ระดับการศึกษาของผู้เข้าร่วมอบรมอยู่ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายมากที่สุด
จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 65.21 รองลงมา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นจำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 21.73 และระดับประถมศึกษาน้อยที่สุด จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 13 พบว่าระดับมัธยมศึกษาตอนปลายอยู่ในกลุ่มที่ให้ความสนใจมากที่สุด
4. อาชีพของผู้เข้าร่วมอบรมอาชีพแม่บ้านมากที่สุด
จำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 69.56
อาชีพแม่บ้านมากที่สุดและอยู่ในกลุ่มที่ให้ความสนใจมากที่สุด รองลงมาอาชีพรับจ้าง จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ
17.39 อาชีพค้าขายให้ความสนใจน้อยสุด จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ
13.0
5. รายได้ต่อเดือนผู้เข้าร่วมอบรมรายได้ต่ำกว่า
50,000 บาท ให้ความสนมากที่สุด จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 52.17 รองลงมารายได้ต่อเดือน 50,000 -10,000 บาท จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 43.47 พบว่ารายได้ต่อเดือนผู้เข้าร่วมอบรมรายได้มากกว่า
10,000 บาทต่อเดือน จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ
4.34 และรายได้ต่ำกว่า
50,000 บาท อยู่ในกลุ่มที่ให้ความสนใจมากที่สุด
ตอนที่
2 ความพึงพอใจต่อการจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาอาชีพ
ที่
|
รายการ
|
ระดับความพึงพอใจ
|
|||||||||||
ดีมาก
|
ร้อยละ
|
ดี
|
ร้อยละ
|
พอ
ใช้
|
ร้อยละ
|
ควร
ปรับ
ปรุง
|
ร้อย
ละ
|
ต้องปรับ
ปรุง
|
ร้อย
ละ
|
||||
1.
|
ด้านหลักสูตร
เนื้อหาหลักสูตรการจัดกิจกรรมอาชีพนี้ตรงกับความต้องการของท่าน
|
5
|
21.73
|
13
|
78.26
|
|
|
|
|
|
|
||
|
รวม
|
5
|
21.73
|
13
|
78.26
|
|
|
|
|
|
|
||
|
ค่าเฉลี่ย
|
5
|
21.73
|
13
|
56.52
|
|
|
|
|
|
|
||
2.
3.
4.
|
ด้านสื่อและแหล่งเรียนรู้
สื่อ/วัสดุอุปกรณ์ประกอบกิจกรรมการเรียนรู้มีหลากหลายเพียงพอเหมาะสมกับหลักสูตร/กิจกรรม สื่อ/วัสดุ อุปกรณ์
การเรียนรู้ตรงกับความต้องการ
ท่านได้รับคำแนะนำให้ใช้
ทรัพยากร แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาในท้องถิ่น เป็นสื่อประกอบการเรียนรู้
ท่านได้ใช้ทรัพยากร
แหล่งเรียนรู้/ ภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นสื่อ/วัสดุประกอบการเรียนรู้
|
12
9
9
|
52.17
39.13
39.13
|
11
14
14
|
47.82
60.86
60.86
|
|
|
|
|
|
|
||
|
รวม (ข้อ 2- 4)
|
30
|
130.43
|
39
|
169.54
|
|
|
|
|
|
|
||
|
ค่าเฉลี่ย
|
10
|
43.47
|
13
|
56.51
|
|
|
|
|
|
|
||
5.
6.
7.
|
ด้านการจัดกระบวนการเรียนรู้
ผู้สอนมีทักษะและเทคนิคการถ่ายทอดความรู้ตามหลักสูตร
ท่านสามารถเรียนรู้และได้ฝึกทักษะจากการปฏิบัติจริง
มีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับเนื้อหากิจกรรม
|
15
11
13
|
65.21
47.82
56.52
|
8
12
10
|
34.78
52.17
43.47
|
|
|
|
|
|
|
||
|
รวม (ข้อ 5-7)
|
39
|
169
|
30
|
130
|
|
|
|
|
|
|
||
|
ค่าเฉลี่ย
|
13
|
56.51
|
10
|
43.33
|
|
|
|
|
|
|
||
8.
9.
10
11
|
ด้านคุณภาพครูและผู้สอน
ผู้สอนมีความรู้ความชำนาญและประสบการณ์ตรงตามหลักสูตร
ผู้สอนรับผิดชอบการสอนครบตรงตามเวลาที่กำหนดตามแผน
ผู้สอนมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อผู้เรียน
ผู้สอนปฏิบัติต่อผู้เรียนด้วยความเสมอภาค
|
18
10
10
5
|
78.26
43.47
43.47
21.73
|
5
13
18
18
|
21.73
56.52
78.26
78.26
|
|
|
|
|
|
|
||
|
รวม (ข้อ 8-11 )
|
43
|
186.93
|
54
|
234.77
|
|
|
|
|
|
|
||
|
ค่าเฉลี่ย
|
10.75
|
46.73
|
13.5
|
58.69
|
|
|
|
|
|
|
||
12
13
|
ด้านคุณภาพผู้รับบริการ
ท่านมีความรู้ความสามารถตรงตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตรการฝึกทักษะอาชีพนี้
ท่านสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ในด้านใด
( ) ประกอบอาชีพ
( )
พัฒนาอาชีพ
( )
ลดรายจ่ายในครัวเรือน
( )
เพิ่มรายได้ในครัวเรือน
( )
อื่นๆ ระบุ........................................................
|
8
23
|
34.78
100
|
15
|
65.21
|
|
|
|
|
|
|
||
14
|
ความพึงพอใจในภาพรวม
|
10
|
43.47
|
13
|
56.52
|
|
|
|
|
|
|
||
|
รวม (ข้อ 12-13)
|
31
|
134.78
|
|
|
|
|
|
|
|
|
||
|
ค่าเฉลี่ย
|
15.5
|
67.39
|
15
|
56.21
|
|
|
|
|
|
|
||
|
รวมทั้งหมด (ข้อ 1-13)
|
54.25
|
235.83
|
69.5
|
293
|
|
|
|
|
|
|
||
|
รวมค่าเฉลี่ยทั้งหมด
|
10.85
|
47.16
|
13.9
|
58.9
|
|
|
|
|
|
|
||
ตอนที่
3 ความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม
1. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมพึงพอใจในเนื้อหาหลักสูตรการจัดกิจกรรมอาชีพนี้ตรงกับความต้องการของท่านอยู่ในระดับดี
มากที่สุด เฉลี่ยจำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 56.52 อยู่ในระดับดีมาก รองลงมา จำนวน 5
คน คิดเป็นร้อยละ 21.73
2. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมพึงพอใจในด้านสื่อและแหล่งเรียนรู้ สื่อ/วัสดุอุปกรณ์ประกอบกิจกรรมการเรียนรู้มีหลากหลายเพียงพอเหมาะสมกับหลักสูตร/กิจกรรม
สื่อ/วัสดุ อุปกรณ์ การเรียนรู้ตรงกับความต้องการอยู่ในระดับ ดีมาก มากที่สุด จำนวน 12 คน
คิดเป็นร้อยละ 52.17 อยู่ในระดับดีมาก รองลงมา จำนวน 11
คน คิดเป็นร้อยละ 47.82
3. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมพึงพอใจในได้รับคำแนะนำให้ใช้ทรัพยากรแหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาในท้องถิ่น
เป็นสื่อประกอบการเรียนรู้ท่านได้ใช้ทรัพยากร แหล่งเรียนรู้/ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ในระดับดี
มากที่สุด จำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 60.86 อยู่ในระดับดี รองลงมา จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 39.13
4. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมพึงพอใจในการใช้ทรัพยากรแหล่งเรียนรู้
ภูมิปัญญาในท้องถิ่น เป็นสื่อประกอบการเรียนรู้อยู่ในระดับดี 14 คน คิดเป็นร้อยละ 60.86 อยู่ในระดับดีมาก และระดับพอใช้ รองลงมา จำนวน 9 คน
คิดเป็นร้อยละ 39.13
5.
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมพึงพอใจในด้านการจัดกระบวนการเรียนรู้ ผู้สอนมีทักษะและเทคนิคการถ่ายทอดความรู้ตามหลักสูตร อยู่ในระดับดีมาก 15 คน คิดเป็นร้อยละ 65.21 อยู่ในระดับดีรองลงมา จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 34.78
6. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมพึงพอใจในท่านสามารถเรียนรู้และได้ฝึกทักษะจากการปฏิบัติจริงอยู่ในระดับดี
มากที่สุด จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 52.17 อยู่ในระดับดีมากรองลงมา จำนวน
11 คน คิดเป็นร้อยละ
47.82
7. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมพึงพอใจในมีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับเนื้อหากิจกรรมอยู่ในระดับดีมาก
มากที่สุด จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 56.52 อยู่ในระดับดีรองลงมา
จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 43.47
8. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมพึงพอใจในด้านคุณภาพครูและผู้สอน ผู้สอนมีความรู้ความชำนาญแลประสบการณ์ตรงตามหลักสูตรอยู่ในระดับดี มากที่สุด จำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 78.26 อยู่ในระดับดี รองลงมาจำนวน
5 คน คิดเป็นร้อยละ
21.73
9.
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมพึงพอใจใน ผู้สอนมีความรู้ความชำนาญและประสบการณ์ตรงตามหลักสูตรอยู่ในระดับดี มากที่สุด จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 56.52 อยู่ในระดับดีมากรองลงมา
จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 43.47
10.
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมพึงพอใจใน ผู้สอนมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อผู้เรียนอยู่ในระดับดี มากที่สุด จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 56.52 อยู่ในระดับพอใช้รองลงมา
จำนวน 10 คน
คิดเป็นร้อยละ 43.47
11. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมพึงพอใจใน ผู้สอนปฏิบัติต่อผู้เรียนด้วยความเสมอภาคอยู่ในระดับดี มากที่สุด จำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 78.26 อยู่ในระดับดีมาก รองลงมา
จำนวน 5 คน
คิดเป็นร้อยละ 21.73
12. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมพึงพอใจในด้านคุณภาพผู้รับบริการท่านมีความรู้ความสามารถตรงตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตรการฝึกทักษะอาชีพนี้อยู่ในระดับดี มากที่สุด จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 65.21 อยู่ในระดับดีมาก รองลงมา
จำนวน 8 คน
คิดเป็นร้อยละ 34.78
13. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมพึงพอใจใน ท่านสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ในด้านใด
ด้านพัฒนาอาชีพอยู่ในระดับดีมาก มากที่สุดจำนวน
23 คน คิดเป็นร้อยละ 100
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับดี มากที่สุดจำนวน 13 คน
คิดเป็นร้อยละ 56.52 รองลงมาอยู่ในระดับพอใช้ จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 43.47
ความพึงพอใจในภาพรวมของโครงการทำหมอนสมุนไพรอยู่ในระดับดี อาจผู้เข้ารับการอบรมมีพื้นฐานมีทักษะความรู้ในเรื่องการทำหมอนมาก่อนตลอดจนมีความตั้งใจ ในการปฏิบัติทำให้การฝึกอบรมอยู่ในระดับดี
ผลความสำเร็จตามตัวชี้วัด
ร้อยละ 100 ของเป้าหมายตามโครงการฯเข้ารับบริการอาชีพ 100 %
ร้อยละ 80 ของผู้รับบริการมีความรู้ความสามารถตรงตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตรอาชีพ 99.99 %
ร้อยละ 80 ของผู้รับบริการพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาอาชีพ 99.99 %
ร้อยละ
80
ของผู้รับบริการสามารถนำความรู้หรือทักษะจากการเรียนรู้ไปพัฒนาอาชีพและพัฒนา 100 %
ภาพกิจกรรม
วิทยากรให้ความรู้เกี่ยวกับการประกอบอาชีพการทำหมอนสมุนไพรวิเคราะห์ความเป็นไปได้ในการประกอบอาชีพการทำหมอนสมุนไพรและสำรวจทรัพยากรในการทำหมอนสมุนไพรที่มีในชุมชน ตลอดจนทิศทางการประกอบอาชีพ วิทยากรได้อธิบายทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติโดยมีการอธิบายพร้อมสาธิต
วิธีการ / ขั้นตอน ได้เรียนรู้ร่วมกันให้ผู้เรียนดู
การจัดเตรียมวัสดุ – อุปกรณ์ และรูปแบบต่างๆ การทำหมอนสมุนไพร
ผู้เข้าอบรมได้ศึกษาและฝึกปฏิบัติ
การบันทึกข้อมูล ต้นทุน-กำไร วิเคราะห์ตามต้องการในการใช้ และการแข่งขันในตลาดหมอนสมุนไพร
ผลิตภัณฑ์หมอนสมุนไพรส่วนใหญ่ยังไม่มีวางขายในตลาดมากนักจึงเป็นโอกาสที่ดีสำหรับการทำ
การตลาดของคนกลุ่มคนรักสุขภาพ
ภาคผนวก
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น