วันอาทิตย์ที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2558

สานสัมพันธ์กีฬา กศน.ต้านยาเสพติด

           ครู กศน.ตำบลเวียงเหนือ   คณะครู กศน.อำเภอเมืองลำปาง  และ นศ. กศน.อำเภอเมืองลำปาง  ร่วมกิจกรรมโครงการสานสัมพันธ์กีฬา กศน.ต้านยาเสพติด วันที่ 28 สิงหาคม  2558 กศน.อำเภอเมืองลำปาง  ณ  สนามกีฬาค่ายสรุศักดิ์มนตรี   โดยมีนักศึกษาร่วมอย่างคับคั่ง มีการแข่งขันกีฬา ฟุตบอล  วอลย์เลบอล   กีฬาพื้นบ้าน วิ่งชุบเปอร์แมน ตีกอฟ์ วิ่งลูกโปร่งน้ำ   วิ่งกระสอบ   กินวิบาก  ชักขเยอ  วิ่งสามขา เป็นเต้น เพื่อให้นศ.กศน.อำเภอเมืองได้รู้จักกันและพบปะกันแลกเปลี่ยนควารู้ประสบการณ์ซึ่งกันและกันสร้างความสัมพันธ์อันต่อกัน   ตลอดจนส่งเสริมให้นศ.เล่นกีฬาเพื่ีอสุขภาพที่แข็งแรงสมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจปราศจากการใช้สิ่งเสพติดใช้เวลาให้เกิดประโยชน์โดยการเล่นกีฬา  กิจกรรมในครั้งนี้สร้างความสนุกสนานให้นศ.กศน.อำเภอเมืองเป็นอย่างมากครับ

                                                                 การแข่งขันวิ่งสามขา

การแข่งขันฟุตบอล

การแข่งขันวอลเลย์บอล

กองเชียร์นักกีฬามันสุดๆขอบอก  ค่ะ




วันพฤหัสบดีที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2558

กิจกรรมประจำวัน

            ครู กศน.ตำบลเวียงเหนือ  ประสานนายกองค์การบริหารส่วนตำบลพิชัยเป็นประธานเปิดโครงการสานสัมพันธ์กีฬา  กศน.ต้านยาเสพติด   ณ  สนามกีฬาพิทยุทธยรรยง  อำเภอเมืองลำปาง   จังหวัดลำปาง วันที่ 28 สิงหาคม 2558    ตลอดจนเตรียมสนามกีฬาและเช็ดความเรียบร้อยก่อนวันแข่งขันจริง

     กศน.ตำบลเวียงเหนือ ประชุมรับนโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
โดยน้อมนำพระราชดำริพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาปฏิบัติ
 1.ให้ครูรักเด็กให้เด็กรักครู
 2.ให้ครูสอนเด็กให้มีน้ำใจต่อเพื่อน  ไม่ให้แข่งขันกัน  แต่ให้แข่งกันตังเอง  ให้เด็กเรียนเก่งสอนเด็กเรียนช้ากว่า

นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
1.การจัดทำแผนโครงการเริ่มใหม่
2.ปรับปรังแผนงานเดิมที่ไม่สัมฤทธิ์ผล
3.แผนงานในโครงการพระราชดำริ
4.งบประมาณ  โปร่งใส่  ตรวจสอบได้
5.การประชาสัมพันธ์ในองค์กร
6.การติดต่อสื่อสาร
7.อำนวยเมื่อเกิดเหตุการการณ์ฉุกเฉิน
8.ยกระดับมาตราฐานภาษาอังกฤษ
9.ให้มีการนำ  ICT  มาใช้ในงานกระทรวงศึกษาการ
10.ให้ความสำคัญกับเทคนิดการสอนต้องแชร์เทคนิคต่อกัน เทคนิคการสอนที่ดีทำให้เด็กต้องการที่เรียนรู้เพิ่มเรียน
11.การรักรักษาสภาพแวดล้อมให้สวยงานในโรงเรียน ห้องนำ้  ห้องส้วม ต้องสะอาด และการรักษาความปลอดภัย อัคคีภัย ภัยสุนัข  ภัยคุกคามต่างๆ
12.ลดภาระงานครูที่เกี่ยวกับการเรียนการสอนให้ครูมีเวลาการเรียนสอนมากขึ้น
13.การประเมินความกว้าหน้าเพื่อสอดคล้องผลการพัฒนาผู้เรียน ทั้งความรู้  และทักษะชีวิต
14.ปราบปรามการทุจริตชื่อขายตำแหน่ง   โยกย้ายตำแหน่ง
15.ให้เด็กคิดวิเคราะห์มากกว่าท่องจำ
16.ลดการเหลี่ยมลำ้ทางการศึกษา
17.ให้ นศ.ที่จบ ระดับ ม.ต้น กศน.เรียนต่อสายอาชีพเพื่อพัฒนาอาชีพกับอาชีวะศึกษา

รายงานผลการจัดกิจกรรมงานการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ
โครงการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในงานอาชีพ 50 ชั่วโมง
ระหว่างวันที่  15 28 มิถุนายน  2558



รายงานโดย
นายปภพสรรค์   ราชเครือ
กศน.ตำบลเวียงเหนือ
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองลำปาง






คำนำ

 ตามที่ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองลำปาง ได้มอบหมายให้ กศน.ตำบลเวียงเหนือ จัดกิจกรรมอบรมวิชาชีพหลักสูตรระยะสั้นให้แก่กลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ ซึ่งเป็นหนึ่งในวิธีการส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาประชาชนในด้านการส่งเสริมอาชีพต่างๆ  เพราะเป็นการจัดการเรียนรู้ที่ต่อเนื่องและมีการจัดกิจกรรมที่หลากหลาย

 กศน.ตำบลเวียงเหนือ ได้จัดกิจกรรมอบรมวิชาชีพ งานการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ (โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน จัดสรรตามความหนาแน่นของประชากร) ประจำปีงบประมาณ 2558  :  โครงการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในงานอาชีพ 50 ชั่วโมง ให้แก่ประชาชนทั่วไป ตำบลเวียงเหนือ อ.เมืองลำปาง  จ.ลำปาง ระหว่าง 15 28 มิถุนายน  2558 ห้องสมุดประชาชนอำเภอเมืองลำปาง ตำบลเวียงเหนือ อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง เพื่อส่งเสริมอาชีพให้แก่ประชาชนทั่วไปที่มีความสนใจอยากเข้ารับการฝึกอบรม จำนวน 24 คน และมีผู้จบหลักสูตร จำนวน 24 คน

บัดนี้การเรียนการสอนดังกล่าวได้เสร็จสิ้นเรียบร้อยแล้ว จึงขอสรุปผลการเรียนการสอนวิชาชีพหลักสูตรระยะสั้น ดังกล่าว 

                                                                                                       
                                                                                (นายปภพสรรค์  ราชเคือ)
                                                                              กศน.ตำบลเวียงเหนือ
















รายงานกิจกรรมหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น
โครงการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในงานอาชีพ 50 ชั่วโมง
ตอนที่ 1 
1.1  ความสำคัญและความเป็นมา
          สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เป็นอีกหน่วยงานหนึ่งที่ได้มีการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับการก้าวสู่ประชาคมอาเซียนเช่น เดียวกัน โดยกระทรวงศึกษาธิการ            ได้จัดทําแผน 5 ปี ด้านการศึกษาของอาเซียน (พ.ศ.2554-2558) ขึ้น เพื่อเป็นกรอบการดําเนินเพื่อเสริมสร้างความร่วมมือด้านการศึกษาในอาเซียน และระหว่างประเทศอาเซียน กับประเทศ คู่เจรจาอื่นๆ ของอาเซียน โดยแผนปฏิบัติการ 5 ปี ด้านการศึกษาของอาเซียน การก้าวสู่ประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ.2558 (ค.ศ.2015) ของประเทศไทย นับเป็นก้าวสําคัญที่นําไปสู่การเปลี่ยนแปลงทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม สังคมไทยกําลังตื่นตัวอย่างมาก หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนต่างหันมาพัฒนาศักยภาพและดําเนินกิจกรรมเพื่อเตรียมความพร้อมในการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community - AC)                 อันประกอบด้วย 3 เสาหลัก คือ ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Community – APSC) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community – AEC) และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio – Cultural Community – ASCC)  กระทรวงศึกษาธิการ
ดังนั้นเพื่อตอบสนองนโยบายสํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย    กศน.ตำบลทุ่งฝาย  จึงได้จัดทำโครงการ พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในงานอาชีพ (50 ชั่วโมง)ให้แก่ประชาชนในพื้นที่ เพื่อที่จะพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ เพราะประชาชนเหล่านี้มีโอกาสฝึกฝนทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล     รวมทั้งการพัฒนาทักษะการสื่อสารเพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีกับผู้อื่น และเตรียมความพร้อมต่อการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี พ.ศ.2558 ได้
4. วัตถุประสงค์
       1. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถและมีทักษะในการสื่อสารภาษาอังกฤษ ตามจุดประสงค์ของหลักสูตรฯ
       2. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนำความรู้และทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน
5. เป้าหมาย
   เชิงปริมาณ 
ประชาชนในพื้นที่ตำบลเวียงเหนือ จำนวน 24 คน
   เชิงคุณภาพ 
กลุ่มเป้าหมายได้พัฒนาตนเองและความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการติดต่อสื่อสารในชีวิตประจําวันได้
 6. วิธีดำเนินการ
1.       สำรวจข้อมูลปัญหาความต้องการของชุมชน
2.               ร่วมกลุ่มเป้าหมายและวางแผนการดำเนินงาน/ออกแบบกิจกรรม  
3.       จัดทำหลักสูตร/แผนงาน / โครงการ ฯ เสนอเพื่อขออนุมัติดำเนินการ
4.       ประสานงาน วิทยากร/ภาคีเครือข่าย ร่วมดำเนินการ
5.       ดำเนินการจัดกิจกรรมตามแผนงาน/โครงการ ฯ
6.       นิเทศ/ติดตาม/ประเมินผลการจัดกิจกรรม กับภาคีเครือข่ายผู้ร่วมดำเนินการ
7.       สรุปและรายงานผลโครงการ ฯ
7. ระยะเวลาดำเนินการ
15 28 มิถุนายน 2558
9. สถานที่ดำเนินการ
 ห้องสมุดประชาชนอำเภอเมืองลำปาง  ตำบลเวียงเหนือ
10. งบประมาณ
          งบประมาณแผนงานสร้างโอกาสทางการศึกษาให้ทั่วถึงและเป็นธรรม ผลผลิตที่ 4 ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ งบรายจ่ายโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน จัดสรรตามความหนาแน่นของประชากรกลุ่มเป้าหมาย และชุมชน กศน.ตำบลละ 11,000 บาท ประจำปีงบประมาณ 2558 ดังนี้

-  ค่าตอบแทนวิทยากร 1 คน 50 ชั่วโมงๆละ 200 เป็นเงิน  10,000  บาท

           -  ค่าวัสดุ 1,000 บาท
           -  รวมจำนวนทั้งสิ้น 11,000 บาท
11. ความสอดคล้องกับนโยบาย/จุดเน้น/ยุทธศาสตร์/มาตรฐาน
ทิศทางการพัฒนาประเทศและโอกาสของสำนักงาน กศน.
1.1. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 – 2559)
กำหนดให้ทิศทางการพัฒนาประเทศ โดยมุ่งสร้างภูมิคุ้มกันในมิติต่างๆ ให้แก่ ปัจเจกครอบครัว ชุมชนสังคม และประเทศ โดยใช้แนวคิดและทิศทางการพัฒนาประเทศสู่ความยั่งยืนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พร้อมทั้งขยายการนำทุนของประเทศที่มีศักยภาพจาก 3 ทุน ทั้งทุนสังคม ทุนเศรษฐกิจ และทุนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็น 6 ทุน ได้แก่ ทุนมนุษย์ ทุนสังคม ทุนกายภาพ ทุนทางการเงิน ทุนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและทุนทางวัฒนธรรมมาใช้ประโยชน์อย่างบูรณาการและเกื้อกูลกัน  โดยเฉพาะการสร้างฐานทางปัญญา  เพื่อเป็นภูมิคุ้มกันให้กับคนและสังคมไทยเป็นสังคมที่มีคุณภาพ ก้าวสู่สังคมและเศรษฐกิจสีเขียวแบบแผนการผลิตและการบริโภคอย่างยั่งยืนและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม  โดยนำความรู้และจุดเข็งของ อัตลักษณ์ไทยมาปรับโครงสร้างเศรษฐกิจบนฐานนวัตกรรมที่เข้มแข็ง เชื่อมโยงกับเศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจในภูมิภาคอย่างรู้เท่ากันสร้างความยั่งยืนของภาคเกษตร และความมั่นคั่งด้านอาหารและพลังงานรวมทั้งการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนควบคู่ไปกับการเสริมสร้างระบบธรรมาภิบาลและความสมานฉันท์ในทุกภาคส่วนและทุกระดับเป็นฐานการพัฒนาประเทศที่มั่นคงและสมดุลมุ่งสู่การอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุขและเป็นธรรม

1.4 นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ พลเรือเอกณรงค์  พิพัฒนาศัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ประกาศนโยบายเมื่อวันศุกร์ที่ 12 กันยายน 2557 โดยแบ่งเป็น 3 กลุ่มนโยบาย ดังนี้
(2) นโยบายเฉพาะ มี 7 ประเด็นนโยบาย ซึ่งต้องดำเนินการให้เป็นผลใน 1 ปี ได้แก่
2.2. การเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ. 2558 และการดำรงความต่อเนื่องภายหลังการก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
3. นโยบายเร่งด่วน มี 10 ประเด็นนโยบายซึ่งต้องดำเนินการให้เห็นผลใน 3 เดือน ได้แก่
      2. โอกาสของสำนักงาน กศน.
      2.1.ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศที่มุ่งส่งเสริมและการเรียนรู้ตลอดชีวิต  ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) โดยมุ่งสร้างกระแสสังคมให้การเรียนรู้ เป็นหน้าที่ของคนไทยทุกคน มีวินัยใฝ่รู้ รักการอ่านตั้งแต่วัยเด็ก และส่งเสริมเรียนรู้ร่วมกันของคนต่างวัย ควบคู่กับการส่งเสริมให้องค์กร กลุ่มบุคคล ชุมชน ประชาชน และสื่อทุกประเภทเป็นแหล่งเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ สื่อสารด้วยภาษาที่เข้าใจง่ายรวมถึงส่งเสริมการศึกษาทางเลือกที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน และสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ และสนับสนุนปัจจัยที่ก่อให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต
3        ยุทธศาสตร์ที่หวังผลใน 3  เดือน
1.การเร่งปฏิรูปการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้สามารถขับเคลื่อนนโยบายของรัฐบาลทุกระดับในส่วนที่เกี่ยวข้องเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติให้บรรลุผลอย่างมีประสิทธิภาพตามกรอบเงื่อนไขระยะเวลาที่กำหนดไว้ โดย
             1.1 การทบทวนและปรับบทบาทหน้าที่ของหน่วยงานและสถานศึกษาทุกประเภท ทุกระดับ
ตลอดจนหน่วยจัดบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในพื้นที่ให้ทำหน้าที่ตามเจตนารมณ์ที่กำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้ “กศน.ตำบล” เป็นฐาน (สถานี)เติมเต็มความรู้ โดยยึดผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง
              1.2 การประเมิน ทบทวนและปรับกิจกรรมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย  ให้เอื้อต่อการเรียนรู้และสอดคล้องกับวิถีชีวิตและสภาพปัญหาความเร่งด่วนของแต่ละชุมชนตลอดจนพัฒนาทักษะที่จำเป็นในการดำรงชีวิต สามารถนำไปใช้ประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเอง การพัฒนาชุมชนและสังคมได้อย่าแท้จริง โดยยึดหลักประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความคุ้มค่าในการดำเนินงาน
12.  ความสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
       - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน/ผู้รับบริการ
         ตัวบ่งชี้ที่ 6 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง
         ตัวบ่งชี้ที่ 7 ผู้เรียนมีงานทำหรือมีรายได้เสริมมีทักษะในการทำงาน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และมีเจตคติต่ออาชีพสุจริต
       - มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ
        ตัวบ่งชี้ที่ 4 คุณภาพผู้สอน/วิทยากรสอนการศึกษาต่อเนื่อง
13. ความสอดคล้องกับตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอก
     ตัวบ่งชี้ที่ 5 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน
      - ตัวบ่งชี้ 5.2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้สำเร็จการศึกษาต่อเนื่องตามหลักสูตร/โครงการ
      - ตัวบ่งชี้ที่ 5.3 ผู้สำเร็จการศึกษาต่อเนื่องที่นำความรู้ไปใช้ประโยชน์

14. โครงการ/กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง
     งานการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพในศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนไปสู่ระดับวิสาหกิจชุมชน
15. ภาคีเครือข่ายร่วมดำเนินงาน
     15.1 กศน.ตำบลเวียงเหนือ
     15.2. ประธานชุมชน/ผู้นำชุมชน
16. ผู้รับผิดชอบโครงการ
     1.งานการศึกษาต่อเนื่อง
     2.กศน.ตำบลเวียงเหนือ
17. ตัวชี้วัดความสำเร็จ
     1. ร้อยละ 80 ของเป้าหมายตามโครงการฯเข้ารับบริการการศึกษาต่อเนื่อง การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ
     2. ร้อยละ 80 ของผู้รับบริการมีความรู้ความสามารถตามจุดประสงค์ของหลักสูตรฯ
     3. ร้อยละ 80 ของผู้รับบริการพึงพอใจใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ
     4. ร้อยละ 80 ของผู้รับบริการสามารถนำความรู้หรือทักษะจากการเรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
18. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
       1.กลุ่มเป้าหมายสามารถนำความรู้และทักษะที่ได้รับไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ เพื่อเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
       2. มีความมั่นใจในการสื่อสารกับชาวต่างชาติ และเข้าใจในการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรมกับชาวต่างชาติได้อย่างมีประสิทธิภาพเพื่อความสัมพันธ์อันดี
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

- โครงการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในงานอาชีพ 50 ชั่วโมง ระหว่าง              วันที่ 15 28  มิถุนายน  2558  ณ  ห้องสมุดประชาชนอำเภอเมืองลำปาง  ตำบลเวียงเหนือ อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง วิทยากรผู้สอน คือ MISS.DEIREE SANTOR  ALBERTO จำนวนผู้เรียน  24 คน และมีผู้ผ่านการอบรม จำนวน 24 คน

-  การเรียนการสอน ได้จัดกระบวนการเรียนการสอน และในภาคทฤษฎีภาคปฏิบัติ โดยได้สอดแทรกเนื้อหาให้ผู้เรียนพร้อมกับการฝึกปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง 
โครงสร้างหลักสูตร
เรื่องที่
หัวเรื่อง
เวลา (ชั่วโมง)
ทฤษฎี
ปฏิบัติ
1
การทักทาย
การต้อนรับและการขอบคุณ
5
3
2
ตัวเลขที่ใช้บอกราคา
5
3
3
วัน เดือน ปี
จำนวนนับ ลำดับที่
5
3
4
คำศัพท์ ข้อความและประโยคการซื้อขายสินค้า
5
3
5
คำศัพท์ ข้อความและประโยคการชำระเงิน
4
3
6
อาหาร และผลไม้ไทย
3
3
7
คำศัพท์สถานที่สำคัญที่ควรทราบ
3
2

รวม
30
20

รวม (ทฤษฎีและปฏิบัติ)
50

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
          การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาชีพระยะสั้น โครงการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในงานอาชีพ 50 ชั่วโมง โดยมีเนื้อหาหลักอยู่ 7 หัวข้อได้แก่ การทักทาย การต้อนรับและการขอบคุณ ตัวเลขที่ใช้บอกราคา วัน เดือน ปี จำนวนนับ ลำดับที่ คำศัพท์ ข้อความและประโยคการซื้อขายสินค้า คำศัพท์ ข้อความและประโยคการชำระเงิน อาหาร และผลไม้ไทย และคำศัพท์สถานที่สำคัญที่ควรทราบ             โดยมีวิทยากรที่ให้ความรู้ คือ  MISS.DEIREE SANTOR  ALBERTO
1.การจัดกิจกรรมการเรียนการทักทายการต้อนรับและการขอบคุณ
วิทยากรบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับการออกเสียงคำศัพท์  สำนวน และประโยคกล่าวทักทายต้อนรับลูกค้า การกล่าวทักทายต้อนรับลูกค้าได้อย่างเหมาะสม การกล่าวแนะนำให้ลูกค้าตัดสินใจเลือกสินค้าตามที่พอใจ การกล่าวขอโทษลูกค้าอย่างสุภาพ การกล่าวชมในสถานการณ์ต่าง ๆ การกล่าวขอบคุณ และกล่าวลาอย่างสุภาพ
2.การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตัวเลขที่ใช้บอกราคา
วิทยากรอธิบายและยกตัวอย่างการออกเสียงคำศัพท์ สำนวนและประโยคที่ใช้เกี่ยวกับตัวเลขที่ใช้บอกราคา และฝึกปฏิบัติสนทนาโต้ตอบกับผู้เข้าอบรมโดยใช้คำศัพท์ สำนวน และประโยคที่เกี่ยวกับตัวเลขบอกราคา
3.การจัดกิจกรรมการเรียนวัน เดือน ปีจำนวนนับ ลำดับที่
วิทยากรสร้างบรรยากาศให้เกิดความสนิทสนมคุ้นเคยกัน เพื่อให้ผู้เรียนกล้าแสดงออก กล้าพูดและกล้าฝึกสนทนากับเพื่อนเพื่อผลในการพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษ และอ่านออกเสียงแต่ละเรื่อง และให้ผู้เข้าอบรมฝึกปฏิบัติโดยการออกเสียงตาม
ผู้เข้าอบรมจับคู่เพื่อช่วยกันฝึกออกเสียงไปพร้อมๆ กัน หากผู้เข้าอบรมคนใดออกเสียงยังไม่ถูกต้องชัดเจน ให้เพื่อนที่จับคู่กันอยู่ช่วยกันฝึกต่อไป และบันทึกไว้ว่าคำใด ข้อความใด หรือประโยคใดที่เพื่อนยังออกเสียงไม่ได้ เพื่อนำบันทึกนั้นกลับไปฝึกคนเดียว ขออาสาสมัครมาทำหน้าที่ครูอาสาสมัครดังกล่าว พร้อมสุ่มเรียกเพื่อนให้ฝึกออกเสียงตามที่กำหนดให้
4.การจัดกิจกรรมการเรียนคำศัพท์ ข้อความและประโยคการซื้อขายสินค้า
             วิทยากรนำเข้าสู่บทเรียนโดยทบทวนการทักทาย การต้อนรับ การขอบคุณ และการกล่าวลาพร้อมอธิบายคำ กลุ่มคำ ประโยคเกี่ยวกับการซื้อขายสินค้า โดยใช้บัตรคำ แผ่นภาพ หนังสือเรียนและสาธิตการทักทาย โต้ตอบกับลูกค้า โดยใช้คำศัพท์ ประโยคเกี่ยวกับลักษณะ และขนาดของสินค้า ให้ผู้เข้าอบรมฝึกออกเสียง และให้ผู้เข้าอบรมฝึกสนทนาในสถานการณ์จำลอง ตามบทสนทนาในเนื้อหาเกี่ยวกับการขายสินค้า
5.การจัดกิจกรรมการเรียนคำศัพท์ ข้อความและประโยคการชำระเงิน
             วิทยากรนำเข้าสู่บทเรียนโดยทบทวนบทสนทนาเกี่ยวกับการซื้อขายพร้อมอธิบายคำ กลุ่มคำ ประโยคการซื้อขาย  โดยให้ผู้เข้าอบรมฝึกออกเสีย และสาธิตการซื้อขาย โดยให้ผู้เข้าอบรมดูจาก วิดิทัศน์ และให้ผู้เข้าอบรมฝึกสนทนาในสถานการณ์จำลอง ตามบทสนทนาในเนื้อหา โดยจับคู่หรือบทบาทสมมติ
6.การจัดกิจกรรมการเรียนอาหาร และผลไม้ไทย
วิทยากรบรรยากาศให้เกิดความคุ้นเคย เป็นกันเองและกล้าแสดงออก เพื่อการเรียนรู้ไปพร้อมกันและให้ผู้เข้าอบรมระดมสมองเกี่ยวกับอาหารไทยและผลไม้ไทย โดยบันทึกไว้คนละแผ่นเพื่อความสะดวกในการจัดหมวดหมู่ วิทยากรสอนเขียนภาษาอังกฤษกำกับรายชื่อทั้งอาหารไทยและผลไม้ไทย จากนั้นออกเสียงให้ผู้เข้าอบรมฝึกออกเสียงตาม
วิทยากรแบ่งกลุ่มผู้เข้าอบรม ออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือกลุ่มอาหารไทยและกลุ่มผลไม้ไทย แต่ละกลุ่มช่วยกันฝึกออกเสียงคำศัพท์จนคล่องแล้วสลับชื่อกลุ่มเพื่อฝึกออกเสียงคำศัพท์ครบทั้ง 2 ประเภท จากนั้นฝึกเขียนคำศัพท์พร้อมความหมายให้ถูกต้องจับคู่อาสาสมัคร ให้ทุกคู่ช่วยกันเขียนข้อความเกี่ยวกับอาหารไทยและผลไม้ไทย
7.การจัดกิจกรรมการเรียนคำศัพท์สถานที่สำคัญที่ควรทราบ
วิทยากรจัดกิจกรรมเพื่อสร้างบรรยากาศให้มีความคุ้นเคยเป็นกันเอง ซึ่งผู้เรียนจะมีความมั่นใจ กล้าพูด กล้าแสดงออก และให้ผู้เข้าอบรมร่วมกันระดมสมอง เพื่อช่วยกันคิดว่า คำศัพท์เกี่ยวกับสถานที่สำคัญที่ควรทราบ มีประเภทใดบ้าง เพราะเหตุผลใด และแต่ละประเภทจะนึกถึงที่ใดบ้าง วิทยากรออกเสียงคำศัพท์ ให้ผู้เข้าอบรมฝึกออกเสียงตาม
วิทยากรให้ผู้เข้าอบรมแบ่งกลุ่มย่อย กลุ่มละ 5 คน แต่ละกลุ่มเลือกประเภทคำศัพท์ที่ต้องการฝึก ใช้เวลาฝึกฝนจนออกเสียงได้ถูกต้อง จากนั้นฝึกหมุนเวียนประเภทคำศัพท์จนครบหัวข้อที่ควรทราบ































แบบสรุปการประเมินผลการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาอาชีพ
ชื่อกิจกรรม โครงการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในงานอาชีพ 50 ชั่วโมง
วัน เดือน ปี ที่ดำเนินการ วันที่ 1528 มิถุนายน 2558 พื้นที่ดำเนินการ  ณ  ห้องสมุดประชาชนอำเภอเมืองลำปาง  ตำบลเวียงเหนือ อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง
ตอนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม  จำนวนผู้ตอบแบบสอบถาม..........24.........คน
ที่
รายการ
จำนวน (คน)
ร้อยละ
หมายเหตุ
1.
อายุ           



- 15 39 ปี           
16
66.00
- 40 49 ปี 
- 50 59 ปี 
2
6
8.33
25
- 60  ปีขึ้นไป  

 
2.
เพศ 



- หญิง 
20
83.33
- ชาย
4
16.66
3.
ระดับการศึกษา



- ประถม


- มัธยมศึกษาตอนต้น
          2
8.33
- มัธยมศึกษาตอนปลาย
22
91.66
- ปริญญาตรีหรือสูงกว่า
-
 -
4.
อาชีพ



- เกษตรกร   
-
-
- รับจ้าง      
22
91.6
- ค้าขาย
7
29.16
- อื่น ๆ ระบุ นักศึกษา


5.
รายได้ต่อเดือน  



- ต่ำกว่า 5,000 บาท  
1
4.16
- 5,000 10,000 บาท 
         13
54.16
- มากกว่า 10,000 บาท
10
41.66










ตารางวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 24 คน
          อายุ  พบว่าผู้เข้าร่วมกิจกรรมวิชาชีพระยะสั้นโครงการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในงานอาชีพ 50 ชั่วโมง มีช่วงอายุ 15 – 39 ปี มากที่สุด จำนวน 16 คน  คิดเป็นร้อยละ 66.66 รองลงมา     ช่วงอายุ 50 - 59 ปี จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 25.00 ช่วงอายุ 40 - 49 ปี จำนวน 4 คน  คิดเป็นร้อยละ 16.66
          เพศ  พบว่าผู้เข้าร่วมกิจกรรมวิชาชีพระยะสั้นโครงการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในงานอาชีพ 50 ชั่วโมง เป็นเพศหญิงมากที่สุด จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 66.66 และเพศชาย จำนวน    4 คน คิดเป็นร้อยละ 16.66  
          ระดับการศึกษา  พบว่าผู้เข้าร่วมกิจกรรมวิชาชีพระยะสั้นโครงการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในงานอาชีพ 50 ชั่วโมง มีการศึกษาระดับระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มากที่สุด จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 91.66 รองลงมาคือระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 8.33
          อาชีพ  พบว่าผู้เข้าร่วมกิจกรรมวิชาชีพระยะสั้นโครงการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในงานอาชีพ 50 ชั่วโมง มีอาชีพเป็นรับจ้าง มากที่สุด จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 91.6 อาชีพค้าขาย จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 29.16
          รายได้ต่อเดือน  พบว่าผู้เข้าร่วมกิจกรรมวิชาชีพระยะสั้นโครงการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในงานอาชีพ 50 ชั่วโมง มีรายได้ต่อเดือน รายได้ 5,000 – 10,000 บาท มากที่สุด จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 54.16 รองลงมาคือ มากกว่า 10,000 บาท จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 41.66






















ตอนที่ 2   ความพึงพอใจต่อการจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาอาชีพ
ที่
รายการ
ระดับความพึงพอใจ
ดีมาก
ร้อยละ
ดี
ร้อยละ
พอใช้
ร้อยละ
ควร
ปรับ
ปรุง
ร้อย
ละ
ต้องปรับ
ปรุง
ร้อย
ละ

1.
ด้านหลักสูตร
เนื้อหาหลักสูตรการจัดกิจกรรมอาชีพนี้ตรงกับความต้องการของท่าน
5
20.80
19
79.16
0
0.00
0
0.00
0
0.00

รวม (ข้อ 1)  (ม.3.1.2-3)
5
20.80
19
79.16
0
0.00
0
0.00
0
0.00

ค่าเฉลี่ย
5
20.80
19
79.16
0
0.00
0
0.00
0
0.00

2.

ด้านสื่อและแหล่งเรียนรู้
สื่อ/วัสดุอุปกรณ์ประกอบกิจกรรมการเรียนรู้มีหลากหลายเพียงพอเหมาะสมกับหลักสูตร/กิจกรรม

13
54.16
11
45.83
0
0.00
0
0.00
0
0.00
3.
สื่อ/วัสดุ อุปกรณ์ การเรียนรู้ตรงกับความต้องการ
11
45.83
11
54.16
0
0.00
0
0.00
0
0.00
4.
ท่านได้รับคำแนะนำให้ใช้ ทรัพยากร แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาในท้องถิ่น เป็นสื่อประกอบการเรียนรู้
7
29.16
17
70.83
0
0.00
0
0.00
0
0.00
5.
ท่านได้ใช้ทรัพยากร แหล่งเรียนรู้/ ภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นสื่อ/วัสดุประกอบการเรียนรู้
7
29.16
16
66.66
0
0.00
0
0.00
0
0.00

รวม (ข้อ 2-5)  (ม.3.2.1-3)
38
158.31
55
237.48
0
0.00
0
0.00
0
0.00

ค่าเฉลี่ย
9.5
39.57
13.75
59.37
0
0.00
0
0.00
0
0.00

6.
ด้านการจัดกระบวนการเรียนรู้
ผู้สอนมีทักษะและเทคนิคการถ่ายทอดความรู้ตามหลักสูตร
10
41.66
14
58.33
0
0.00
0
0.00
0
0.00
7.

ท่านสามารถเรียนรู้และได้ฝึกทักษะจากการปฏิบัติจริง
10
41.66
14
58.33
0
0.00
0
0.00
0
0.00
8.
มีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับเนื้อหากิจกรรม
8
33.33
16
66.66
0
0.00
0
0.00
0
0.00

รวม  (ข้อ6-8) (ม.3.3.2-3)
28
116.65
44
183
0
0.00
0
0.00
0
0.00

ค่าเฉลี่ย
9.33
38.88
14.66
61.1
0
0.00
0
0.00
0
0.00

ที่

รายการ

ดีมาก
ร้อยละ
ดี
ร้อยละ
พอ
ใช้
ร้อยละ
ควร
ปรับ
ปรุง
ร้อย
ละ
ต้องปรับ
ปรุง
ร้อย
ละ

  9.
ด้านคุณภาพครูและผู้สอน
ผู้สอนมีความรู้ความชำนาญและประสบการณ์ตรงตามหลักสูตร
16
80.00
8
33.33
0
0.00
0
0.00
0
0.00
10.
ผู้สอนรับผิดชอบการสอนครบตรงตามเวลาที่กำหนดตามแผน
17
70.83
7
29.166
0
0.00
0
0.00
0
0.00
11.
ผู้สอนมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อผู้เรียน

14
58.33
10
41.66
0
0.00
0
0.00
0
0.00
12.
ผู้สอนปฏิบัติต่อผู้เรียนด้วยความเสมอภาค
16
80.00
8
33.33
0
0.00
0
0.00
0
0.00

รวม (ข้อ 9-12)  (ม.3.4.1-2)
63
289.19
33
137.486
0
0.00
0
0.00
0
0.00

ค่าเฉลี่ย
15.75
72.29
8.25
34.371
0
0.00
0
0.00
0
0.00

13.
ด้านคุณภาพผู้รับบริการ
ท่านมีความรู้ความเข้าใจการฝึกทักษะอาชีพนี้
6
25
18
75
0
0.00
0
0.00

0

0.00
14.
ท่านสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ในด้านใด
(   )  พัฒนาอาชีพเดิม
(   )  พัฒนาอาชีพเสริม
(   )  ลดรายจ่ายในครัวเรือน
(   )  เพิ่มรายได้ในครัวเรือน
(   )  อื่นๆ  ระบุ
24
100
0
0
0
0.00
0
0.00
0
0.00
15.
ความพึงพอใจในภาพรวม
10
41.66
14
58.33
0
0.00
0
0.00
0
0.00

รวม  (ข้อ 13-15)  (ม.3.5.1-2)
40
166.66
32
133.33
0
0.00
0
0.00
0
0.00

ค่าเฉลี่ย
13.33
55.55
16
66.66
0
0.00
0
0.00
0
0.00

รวมทั้งหมด  (ข้อ 1-15)  (ม.3.5.3)
52.91
227.09
71.66
300.66
0
0.00
0
0.00
0
0.00

รวมค่าเฉลี่ยทั้งหมด
10.58
45.418
14.33
60.13
0
0.00
0
0.00
0
0.00

ตารางวิเคราะห์ข้อมูลความพึงพอใจต่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ของผู้ใช้บริการ
ด้านหลักสูตร  พบว่าผู้เข้าร่วมกิจกรรมวิชาชีพระยะสั้นโครงการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในงานอาชีพ 50 ชั่วโมง มีส่วนร่วมในการเสนอความต้องการและวางแผน จัดกิจกรรมตามหลักสูตรอาชีพนี้ และเนื้อหาหลักสูตรการจัดกิจกรรมตรงกับความต้องการ ระดับความพึงพอใจดีมาก เฉลี่ยจำนวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 79.16 รองลงมาระดับความพึงพอใจดี เฉลี่ยจำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 20.8
ด้านสื่อและแหล่งเรียนรู้  พบว่าผู้เข้าร่วมกิจกรรมวิชาชีพระยะสั้นโครงการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในงานอาชีพ 50 ชั่วโมง มีสื่อ/วัสดุอุปกรณ์ประกอบกิจกรรมการเรียนรู้มีหลากหลายเพียงพอเหมาะสมกับหลักสูตร/กิจกรรม การเรียนรู้อยู่ในความต้องการ ผู้เรียนได้รับคำแนะนำให้ใช้ทรัพยากรแหล่งเรียนรู้/ภูมิปัญญา และได้ใช้แหล่งเรียนทรัพยากรแหล่งเรียนรู้ /ภูมิปัญญา เป็นสื่อวัสดุประกอบการเรียนรู้ ความพึงพอใจอยู่ในระดับดีมาก เฉลี่ยจำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 59.73     รองลงมาระดับความพึงพอใจดี เฉลี่ยจำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 39.75
ด้านการจัดกระบวนการเรียนรู้  พบว่าผู้เข้าร่วมกิจกรรมวิชาชีพระยะสั้นโครงการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในงานอาชีพ 50 ชั่วโมง ผู้สอนมีทักษะและเทคนิคการถ่ายทอดความรู้ตามหลักสูตร ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ และฝึกทักษะจากการปฏิบัติจริง มีการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับเนื้อหากิจกรรมอยู่ในระดับดีมาก เฉลี่ยจำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 61.1 รองลงมาระดับความพึงพอใจดี เฉลี่ยจำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 38.88
ด้านคุณภาพครูและผู้สอน  พบว่าผู้เข้าร่วมกิจกรรมวิชาชีพระยะสั้นโครงการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในงานอาชีพ 50 ชั่วโมง ผู้สอนมีความรู้ความชำนาญและประสบการณ์ตรงตามหลักสูตร มีความรับผิดชอบตรงตามเวลาที่กำหนดตามแผน มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อผู้เรียน และปฏิบัติต่อผู้เรียนด้วยความเสมอภาค ระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับดีมาก โดยเฉลี่ยจำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 72.29 รองลงมาระดับความพึงพอใจดี เฉลี่ยจำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 32.34
ด้านคุณภาพผู้รับบริการ  พบว่าผู้เข้าร่วมกิจกรรมวิชาชีพระยะสั้นโครงการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในงานอาชีพ 50 ชั่วโมง ผู้รับบริการมีความรู้ความเข้าใจการฝึกทักษะอาชีพ สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ มีระดับความพึงพอใจดีมาก เฉลี่ยจำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 66.66 รองลงมาระดับความพึงพอใจดี เฉลี่ยจำนวน 13.33 คน คิดเป็นร้อยละ 55.55
สรุปตัวชี้วัดความสำเร็จในการดำเนินงานตามโครงการ
1. ร้อยละ 80 ของเป้าหมายตามโครงการฯเข้ารับบริการการศึกษาต่อเนื่อง การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ 100 %
2. ร้อยละ 80 ของผู้รับบริการมีความรู้ความสามารถตามจุดประสงค์ของหลักสูตรฯ 99.96 %
3. ร้อยละ 80 ของผู้รับบริการพึงพอใจใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ 100 %
4. ร้อยละ 80 ของผู้รับบริการสามารถนำความรู้หรือทักษะจากการเรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้  100 %

สรุปแบบประเมินความพึงพอใจในภาพรวม 
            กิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพระยะสั้น โครงการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในงานอาชีพ 50 ชั่วโมง เฉลี่ยแล้วอยู่ในระดับความพึงพอใจใน ระดับดีมากและดี คิดเป็นร้อยละ 99.99 %ของผู้เข้าร่วมอบรมทั้งหมด โดยรวมคะแนนระดับความพึงพอใจระดับดีมากและดี












ภาคผนวก









ภาพประกอบการจัดกิจกรรม

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนรายวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในงานอาชีพ